หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ชื่อหลักสูตร
- รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Computer Science) - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Computer Science)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Computer Science)
ข้อมูลทั่วไป
- ไม่ต้องมีพื้นฐาน
- รับนักศึกษาที่จบม.6 ปวช. ปวส. หรือวุฒิการศึกษาเทียบเท่า
- อยากเป็น นักพัฒนาแอพพลิเคชัน โปรแกรมเมอร์ นักพัฒนาระบบไอที นักพัฒนาแอพมือถือ
- หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต
- ระยะเวลาเรียน 3 ปี อย่างช้า 4 ปี เรียนวันจันทร์ ถึงศุกร์ เวลา 9.00 – 16.00 น.
- ฝึกงานกับบริษัทผลิตซอฟต์แวร์
ความสำคัญ
“ศาสตร์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ด้านปัญญาประดิษฐ์ วิทยาการข้อมูล การเรียนรู้ของเครื่อง การเงินยุคดิจิทัล บล็อกเชน อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ฯลฯ เป็นความรู้ที่จะพัฒนาวีถีชีวิตของมนุษย์ในยุคดิจิทัลให้มั่นคงอย่างยั่งยืน”
จุดเด่น
- ผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศด้านการเขียนโปรแกรมบนมือถือ
- เว็บไซต์และคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน IOT
- สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี
- มีความร่วมมือกับภาคเอกชนทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
- ฝึกงานในสถานประกอบการจริง
เรียนเทคโนโลยีใหม่ๆอะไรบ้าง ?
- Blockchain เทคโนโลยีบล็อกเชน
- Big Data analytics การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
- Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
- Data Science วิทยาการข้อมูล
- IOT เทคโนโลยีสรรพสิ่ง
- Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์
- Machine Learning การเรียนรู้ของเครื่องจักร
- Robotics Technology เทคโนโลยีหุ่นยนต์
- Cloud Computing การประมวลผลแบบคลาวน์
- Image Processing and Computer Vision การประมวลผลภาพและการมองเห็นของคอมพิวเตอร์
ค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร
- 348,000 บาท
เรียนเกี่ยวกับอะไร
- การเขียนโปรแกรมบนมือถือ เว็บไซต์และคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน IOT
แนวทางในการประกอบอาชีพ
- โปรแกรมเมอร์(Programmer)
- นักพัฒนาแอปพลิเคชันทั้งเว็บและโทรศัพท์มือถือ (Web and Smart Phone Application Developer)
- นักพัฒนาเว็บทั้ง Frontend, Backend และ Functional Application (Full Stack Developer)
- นักพัฒนาเว็บไซต์ (Web Developer)
- นักวิทยาการข้อมูล (Data Scientist)
- ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล(Database Administrator)
- นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst)
- วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
รายละเอียดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิต
- จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปแบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น 8 กลุ่มวิชา ดังนี้
กลุ่มที่ | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
กลุ่มที่ 1 | อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (RSU Identity) | 3 |
กลุ่มที่ 2 | ความเป็นสากลและการสื่อสาร (Internationalization and Communication) | 12 |
กลุ่มที่ | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
กลุ่มที่ 2.1 | กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (English Language) | 6 |
กลุ่มที่ 2.2 | กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ (International Language and International Experience) | 6 |
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
กลุ่มที่ | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
กลุ่มที่ 3 | ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility) | - |
กลุ่มที่ 4 | ศิลปะและวัฒนธรรม (Arts and Culture) | - |
กลุ่มที่ 5 | ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility) | - |
กลุ่มที่ 6 | รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy) | - |
กลุ่มที่ 7 | หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science) | - |
กลุ่มที่ 8 | อาร์เอสยู มาย-สไตล์ (RSU My-Style) | - |
หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต ประกอบด้วย
หมวดที่ | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
1 | วิชาพื้นฐานวิชาชีพ | 18 |
2 | วิชาชีพ | 72 |
ก | วิชาชีพ-บังคับ
|
57 |
ข | วิชาชีพ-เลือก | 15 |
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
แผนการเรียน
ปีการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
---|---|
DIT 101 | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 |
DIT 102 | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 |
MAT 133 | แคลคูลัส 1 |
MAT 221 | คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง |
MAT 241 | พีชคณิตเชิงเส้น |
MAT 252 | ความน่าจะเป็นและสถิติ |
RSU 112 | กีฬาเพื่อสุขภาพ |
RSU 113 | การรู้และเข้าใจดิจิทัล |
RSU 185 | ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ |
XXX xxx | กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ(1) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (1) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (2) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (3) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (1) |
ปีการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
---|---|
CSC 250 | การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ |
CSC 331 | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ |
CSC 350 | การเขียนโปรแกรมเทคโนโลยีเว็บ |
CSC 360 | โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี |
CSC 362 | ระบบฐานข้อมูล |
CSC 420 | ระบบปฏิบัติการ |
CSC 431 | ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ |
CSC 451 | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก |
CSC 481 | การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสานสนเทศ |
XXX xxx | หมวดวิชาชีพเลือก (1) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (2) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (3) |
XXX xxx | วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (4) |
ปีการศึกษาที่ 3
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
---|---|
CSC 454 | ภาษาการโปรแกรม |
CSC 475 | การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ |
CSC 480 | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
CSC 485 | วิธีวิทยาการวิจัยเบื้องต้นสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
CSC 487 | กฎหมายและจริยธรรมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
CSC 472 | ปัญญาประดิษฐ์ |
CSC 492 | โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
CSC xxx | หมวดวิชาชีพเลือก (2) |
CSC xxx | หมวดวิชาชีพเลือก (3) |
CSC xxx | หมวดวิชาชีพเลือก (4) |
CSC xxx | หมวดวิชาชีพเลือก (5) |
XXX xxx | หมวดวิชาเลือกเสรี (1) |
XXX xxx | หมวดวิชาเลือกเสรี (2) |
DIT 498 | สหกิจศึกษา (นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติสหกิจ ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือน) |
Comments are closed