เทคโนโลยีสื่อสังคม

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม
(Doctor of Philosophy Program in Social Media Technology)

ชื่อหลักสูตร

  1. รหัสและชื่อหลักสูตร
    ภาษาไทย       : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม
    ภาษาอังกฤษ  : Doctor of Philosophy Program in Social Media Technology
  2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
    ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)        : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีสื่อสังคม)
    ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)   : Doctor of Philosophy (Social Media Technology)
    ชื่อย่อ (ภาษาไทย)         : ปร.ด.(เทคโนโลยีสื่อสังคม)
    ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ)    : Ph.D.(Social Media Technology)

ข้อมูลทั่วไป

ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี)

1. คำอธิบายโดยย่อ
ดุษฎีนิพนธ์

หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความรู้พื้นฐานและการบูรณาการด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม ซึ่งได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ และคณะกรรมการกำกับดุษฎีนิพนธ์ โดยเป็น งานวิจัยที่อาศัยหลักการสืบค้นข้อมูล ออกแบบ วางแผนการด าเนินงาน การทดสอบเก็บรวบรวมข้อมูล และ วิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนมีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ทางการวิจัย นักศึกษาจะต้องผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ การสอบหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ และการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ ให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด

2. มาตรฐานผลการเรียนรู้

1) มีองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม
2) สามารถวิเคราะห์ปัญหาวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาวิจัยได้
3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นข้อมูลงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสื่อสังคมได้
4) สามารถนำเสนอผลงานวิชาการหรือบทความวิจัยและสื่อสารด้วยภาษาพูดและภาษาเขียนที่ถูกต้อง
5) ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับ
ให้ตีพิมพ์ (Accepted) ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ
อุดมศึกษาเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

3) ช่วงเวลา

สำหรับ แบบ 1.1 เริ่มศึกษารายวิชาดุษฎีนิพนธ์ ตั้งแต่ ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 1
สำหรับ แบบ 2.1 เริ่มศึกษารายวิชาดุษฎีนิพนธ์ ตั้งแต่ ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 2

4. จำนวนหน่วยกิต

สำหรับ แบบ 1.1 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต
สำหรับ แบบ 2.1 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต

5. การเตรียมการ

Graduate School : Rangsit University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 14
ผู้อำนวยการหลักสูตรฯ ให้ค าปรึกษาแก่ผู้สนใจก่อนจะเข้าศึกษา และหลังจากเข้าศึกษา มีการ
มอบหมายอาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจติดต่ออาจารย์ภายนอกสถาบันช่วยให้คำปรึกษา

6. กระบวนการประเมินผล

1) การสอบวัดคุณสมบัติ
2) การสอบเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
3) การเสนอดุษฎีนิพนธ์
4) การตีพิมพ์เผยแพร่ดุษฎีนิพนธ์ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับระดับประเทศหรือนานาชาติ

วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

เรียน วันเสาร์ – อาทิตย์ เวลา 09.00 – 17.00 น.

แนวทางในกระประกอบอาชีพ

  • ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสื่อสังคม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
  • นักวิจัยด้านเทคโนโลยีสื่อสังคมของหน่วยงานวิจัยต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
  • บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและ
    ภาคเอกชน
  • ผู้ประกอบการหรือผู้ให้บริการทางด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม

รายละเอียดหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ 1.1 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
แบบ 2.1 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
  • แบบ 1.1
  • หมวดที่ ชื่อหมวด หน่วยกิต
    1 หมวดดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต
    หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
  • แบบ 2.1
  • กลุ่มที่ ชื่อวิชา หน่วยกิต
    1 หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน ไม่นับหนวยกิตรวม
    2 หมวดวิชาบังคับ 6 หน่วยกิต
    3 หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
    4 หมวดดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
    หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต

    รายวิชาในหลักสูตร

    หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิตรวม)

    รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิจ
    ENL 601 ภาษาอังกฤษสำหรับเสนอผลงานทางวิชาการ
    (English for Academic Presentations)
    3(3-0-6)
    SMT 613 การตลาดออนไลน์
    (Digital Marketing)
    3(3-0-6)
    DIT 702 การออกแบบและเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
    (Object-Oriented Design and Programming)
    3(3-0-6)
    DIT 705 ปัญญาประดิษฐ์
    (Artificial Intelligence)
    3(3-0-6)
    DIT 706 เครือข่ายดิจิทัล
    (Digital Network)
    3(3-0-6)
    DIT 707 การวิเคราะห์และสร้างแบบจ าลองข้อมูลธุรกิจ
    (Data Analytics and Business Modeling)
    3(3-0-6)

    หมวดวิชาบังคับ (แบบ 2.1)

    ให้นักศึกษา ศึกษารายวิชาต่อไปนี้ จ านวน 6 หน่วยกิต
    รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิจ
    SMT 701 วิธีวิทยาการวิจัยและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์
    (Research Methodology and Dissertation Proposal)
    3(3-0-6)
    SMT 702 สัมมนาการวิจัยด้านเทคโนโลยีสื่อสังคมขั้นสูง
    (Seminars in Advanced Social Media Technology Research)
    3(3-0-6)

    หมวดวิชาบังคับ

    สำหรับ นักศึกษาแบบ 2.1 และ 2.2 กำหนดให้ศึกษารายวิชาจ านวนรวมไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
    รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิจ
    DIT 709 วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูง
    (Advanced Research Methodology)
    0(0-0-0)
    DIT 790 การสอบวัดคุณสมบัติ
    (Qualifying Examination)
    3(3-0-6)

    หมวดวิชาเลือก (แบบ 2.1)

    ให้นักศึกษาเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 6 หน่วยกิต
    รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิจ
    SMT 703 การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างมโนภาพข้อมูลในทางธุรกิจ
    (Data Analytics and Data Visualization in Business)
    3(3-0-6)
    SMT 704 การจัดการเศรษฐกิจดิจิทัล
    (Digital Economy Management)
    3(3-0-6)
    SMT 705 วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต
    (Big Data Analytics)
    3(3-0-6)
    SMT 706 สถิติขั้นสูงเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
    (Advanced Statistics for Data Analytics)
    3(3-0-6)
    SMT 707 ธรรมภิบาลข้อมูล
    (Data Governance)
    3(3-0-6)
    SMT 708 การออกแบบและการจัดการองค์การ
    (Organization Design and Management)
    3(3-0-6)
    SMT 708 การออกแบบและการจัดการองค์การ
    (Organization Design and Management)
    3(3-0-6)
    MKT 715 พฤติกรรมผู้บริโภคขั้นสูง
    (Advanced Consumer Behavior)
    3(3-0-6)
    MKT 716 การจัดการธุรกิจดิจิทัล
    (Digital Business Management)
    3(3-0-6)
    MKT 717 การวิเคราะห์ตลาดดิจิทัล
    (Digital Marketing Analytics)
    3(3-0-6)
    COM 719 การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคม
    (Social Media Content Analyses)
    3(3-0-6)

    หมวดดุษฎีนิพนธ์

    รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิจ
    SMT 792 การสอบวัดคุณสมบัติ
    (Qualifying Examination)
    0(0-0-0)
    SMT 798 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.1)
    (Dissertation)
    48(0-144-72)
    SMT 799 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.1)
    (Dissertation)
    36(0-108-54)

    ข้อมูลติดต่อและรายละเอียดเพิ่มเติม

    วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี ชั้น 10 อาคารรัตนคุณากร(ตึก 11) มหาวิทยาลัยรังสิต
    : 02-791-6000 ต่อ 4069 หรือ 0-2997-2222 ต่อ 4112
    : pen2512@gmail.com หรือ duanphen.t@rsu.ac.th
    Verified by MonsterInsights