วิทยาการคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

ชื่อหลักสูตร

  1. รหัสและชื่อหลักสูตร
    ภาษาไทย       :  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
    ภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of Science (Computer Science)
  2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
    ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)       : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
    ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ)  : Bachelor of Science (Computer Science)
    ชื่อย่อ (ภาษาไทย)         : วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
    ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ)    : B.Sc. (Computer Science)

ข้อมูลทั่วไป

  • ไม่ต้องมีพื้นฐาน 
  • รับนักศึกษาที่จบม.6 ปวช. ปวส. หรือวุฒิการศึกษาเทียบเท่า
  • อยากเป็น นักพัฒนาแอพพลิเคชัน โปรแกรมเมอร์ นักพัฒนาระบบไอที นักพัฒนาแอพมือถือ
  • หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต
  • ระยะเวลาเรียน 3 ปี อย่างช้า 4 ปี เรียนวันจันทร์ ถึงศุกร์ เวลา 9.00 – 16.00 น. 
  • ฝึกงานกับบริษัทผลิตซอฟต์แวร์

ความสำคัญ

“ศาสตร์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ด้านปัญญาประดิษฐ์ วิทยาการข้อมูล การเรียนรู้ของเครื่อง การเงินยุคดิจิทัล บล็อกเชน อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ฯลฯ เป็นความรู้ที่จะพัฒนาวีถีชีวิตของมนุษย์ในยุคดิจิทัลให้มั่นคงอย่างยั่งยืน”

จุดเด่น

  • ผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศด้านการเขียนโปรแกรมบนมือถือ
  • เว็บไซต์และคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน IOT
  • สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี
  • มีความร่วมมือกับภาคเอกชนทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
  • ฝึกงานในสถานประกอบการจริง

เรียนเทคโนโลยีใหม่ๆอะไรบ้าง ?

  • Blockchain เทคโนโลยีบล็อกเชน
  • Big Data analytics การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
  • Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
  • Data Science วิทยาการข้อมูล
  • IOT เทคโนโลยีสรรพสิ่ง
  • Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์
  • Machine Learning การเรียนรู้ของเครื่องจักร
  • Robotics Technology เทคโนโลยีหุ่นยนต์
  • Cloud Computing การประมวลผลแบบคลาวน์
  • Image Processing and Computer Vision การประมวลผลภาพและการมองเห็นของคอมพิวเตอร์

ค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร

  • 348,000 บาท

เรียนเกี่ยวกับอะไร

  • การเขียนโปรแกรมบนมือถือ เว็บไซต์และคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน IOT

แนวทางในการประกอบอาชีพ

  • โปรแกรมเมอร์(Programmer)
  • นักพัฒนาแอปพลิเคชันทั้งเว็บและโทรศัพท์มือถือ (Web  and Smart Phone Application Developer)
  • นักพัฒนาเว็บทั้ง Frontend, Backend และ Functional Application (Full Stack Developer)
  • นักพัฒนาเว็บไซต์ (Web Developer)
  • นักวิทยาการข้อมูล (Data Scientist)
  • ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล(Database Administrator)
  • นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst)
  • วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)

รายละเอียดหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิต

  • จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไปแบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น 8 กลุ่มวิชา ดังนี้

  • กลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 จำนวนหน่วยกิตรวม 15 หน่วยกิต แบ่งเป็น
  • กลุ่มที่ ชื่อวิชา หน่วยกิต
    กลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (RSU Identity) 3
    กลุ่มที่ 2 ความเป็นสากลและการสื่อสาร (Internationalization and Communication) 12
  • โดยกลุ่มที่ 2 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวิชาจำนวนหน่วยกิตรวม 12 หน่วยกิต ดังนี้
  • กลุ่มที่ ชื่อวิชา หน่วยกิต
    กลุ่มที่ 2.1 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (English Language) 6
    กลุ่มที่ 2.2 กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ (International Language and International Experience) 6
  • กลุ่มที่ 3 ถึง กลุ่มที่ 8 จำนวนหน่วยกิตรวม 15 หน่วยกิต
  • นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

    กลุ่มที่ ชื่อวิชา หน่วยกิต
    กลุ่มที่ 3 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility) -
    กลุ่มที่ 4 ศิลปะและวัฒนธรรม (Arts and Culture) -
    กลุ่มที่ 5 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility) -
    กลุ่มที่ 6 รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy) -
    กลุ่มที่ 7 หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science) -
    กลุ่มที่ 8 อาร์เอสยู มาย-สไตล์ (RSU My-Style) -
    หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต ประกอบด้วย
    หมวดที่ ชื่อวิชา หน่วยกิต
    1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 18
    2 วิชาชีพ 72
    วิชาชีพ-บังคับ
  • กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ 6 หน่วยกิต
  • กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ 18 หน่วยกิต
  • กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ 15 หน่วยกิต
  • กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ 15 หน่วยกิต
  • กลุ่มฮาร์ดแวร์และสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 3 หน่วยกิต
  • 57
    วิชาชีพ-เลือก 15

    * ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต

    หมวดวิชาเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

    แผนการเรียน

    ปีการศึกษาที่ 1

    รหัสวิชา ชื่อวิชา
    DIT 101 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
    DIT 102 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2
    MAT 133 แคลคูลัส 1
    MAT 221 คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง
    MAT 241 พีชคณิตเชิงเส้น
    MAT 252 ความน่าจะเป็นและสถิติ
    RSU 112 กีฬาเพื่อสุขภาพ
    RSU 113 การรู้และเข้าใจดิจิทัล
    RSU 185 ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ
    XXX xxx กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ(1)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (1)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (2)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 2 (3)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (1)

    ปีการศึกษาที่ 2

    รหัสวิชา ชื่อวิชา
    CSC 250 การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์
    CSC 331 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
    CSC 350 การเขียนโปรแกรมเทคโนโลยีเว็บ
    CSC 360 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
    CSC 362 ระบบฐานข้อมูล
    CSC 420 ระบบปฏิบัติการ
    CSC 431 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
    CSC 451 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
    CSC 481 การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสานสนเทศ
    XXX xxx หมวดวิชาชีพเลือก (1)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (2)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (3)
    XXX xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือกจากกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 7 (4)

    ปีการศึกษาที่ 3

    รหัสวิชา ชื่อวิชา
    CSC 454 ภาษาการโปรแกรม
    CSC 475 การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
    CSC 480 วิศวกรรมซอฟต์แวร์
    CSC 485 วิธีวิทยาการวิจัยเบื้องต้นสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
    CSC 487 กฎหมายและจริยธรรมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    CSC 472 ปัญญาประดิษฐ์
    CSC 492 โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์
    CSC xxx หมวดวิชาชีพเลือก (2)
    CSC xxx หมวดวิชาชีพเลือก (3)
    CSC xxx หมวดวิชาชีพเลือก (4)
    CSC xxx หมวดวิชาชีพเลือก (5)
    XXX xxx หมวดวิชาเลือกเสรี (1)
    XXX xxx หมวดวิชาเลือกเสรี (2)
    DIT 498 สหกิจศึกษา (นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติสหกิจ ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 4 เดือน)

    ติดตามกิจกรรมของสาขาวิชาได้ที่

    ภาพรวมกิจกรรมสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

    Verified by MonsterInsights